นักวิจัย สดร. ร่วมทีมนานาชาติพบโครงสร้างแขนเกลียวรอบดาวฤกษ์ก่อนกำเนิดมวลมาก G358-MM1

นักวิจัย สดร. ร่วมทีมนานาชาติพบโครงสร้างแขนเกลียวรอบดาวฤกษ์ก่อนกำเนิดมวลมาก G358-MM1

Continue Reading

18 มีนาคมนี้ ชวนมาชมดาวกับ Dark Sky Star Partyมหกรรมท่องเที่ยวดูดาวสุดยิ่งใหญ่ครั้งแรกของไทยที่ผาแต้ม

สดร. ร่วมกับอุทยานแห่งชาติผาแต้ม ชวนร่วมมหกรรมท่องเที่ยวดูดาวครั้งยิ่งใหญ่ของประเทศไทย “Dark Sky Star Party” ประเดิมครั้งแรก ณ อุทยานแห่งชาติผาแต้ม จ.อุบลราชธานี สัมผัสความมหัศจรรย์ของท้องฟ้ายามค่ำคืน ในเขตอุทยานท้องฟ้ามืดที่มีทัศนวิสัยท้องฟ้าดีที่สุดแห่งหนึ่งของไทย 18 มีนาคม 2566 เวลา 17:00-23:00 น.

Continue Reading

10 เรื่องดาราศาสตร์น่าติดตามในปี 2566

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สดร. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) แถลง 10 เรื่องดาราศาสตร์ที่น่าติดตามในปี 2566

Continue Reading

สดร. ชวนส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่กับพาเหรดดาวเคราะห์ 7 ดวง 31 ธันวาคมนี้

สดร. ชวนชมพาเหรดดาวเคราะห์ 7 ดวง ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ปรากฏเรียงกันเหนือท้องฟ้า เคียงดวงจันทร์ และร่วมส่งท้ายปีเก่า นับถอยหลังเริ่มศักราชใหม่กับ “ดูดาวข้ามปี” วันที่ 31 ธันวาคม 2565 พบกันที่ 4 จุดสังเกตการณ์หลัก ณ อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร อ. แม่ริม จ. เชียงใหม่ และหอดูดาวเฉลิมพระเกียรติฯ นครราชสีมา ฉะเชิงเทรา และสงขลา

Continue Reading

22 ธันวาคมนี้ “วันเหมายัน” หรือตะวันอ้อมข้าว เวลากลางคืนยาวนานที่สุดในรอบปี

สดร. เผย 22 ธันวาคม 2565 เป็น “วันเหมายัน” เวลากลางคืนยาวนานที่สุดในรอบปี เป็นวันเข้าสู่ฤดูหนาวในซีกโลกเหนือ และเข้าสู่ฤดูร้อนในซีกโลกใต้

Continue Reading

คืน 14 ธ.ค. นี้ ชวน “โต้ลมห่มหนาว นอนนับฝนดาวตกเจมินิดส์”

สดร. ชวน “โต้ลมห่มหนาว นอนนับฝนดาวตกเจมินิดส์” คืน 14 พ.ย. นี้ ในเขตอนุรักษ์ท้องฟ้ามืด ณ อ่างเก็บน้ำห้วยลาน ตำบลออนใต้ อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ พร้อมชมวัตถุท้องฟ้าที่น่าสนใจ อาทิ ดาวเสาร์ ดาวพฤหัสบดี ดาวอังคาร กาแล็กซี เนบิวลา และกระจุกดาว ฯลฯ ผ่านกล้องโทรทรรศน์หลากชนิด

Continue Reading

เปิดภาพ “ดาวอังคาร” คืนก่อนใกล้โลก

สดร.เผยภาพดาวอังคารในคืนก่อนใกล้โลก บันทึกผ่านกล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.4 เมตร ณ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา สงขลา เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2565 มองเห็นพื้นผิวของดาวอังคารและพืดน้ำแข็งปกคลุมบริเวณขั้วเหนือ รวมถึงเมฆสีขาวปกคลุมอยู่บางส่วน

Continue Reading

1 ธันวาคม ชวนจับตา “ดาวอังคารใกล้โลกที่สุด”

สดร. ชวนจับตา “ดาวอังคารใกล้โลก” 1 ธันวาคม 2565 ปรากฏสีส้มแดงสว่างเด่นชัดตลอดคืนจนถึงรุ่งเช้า เตรียมจัดส่องพื้นผิวและขั้วน้ำแข็งดาวอังคารผ่านกล้องโทรทรรศน์ 4 แห่งที่ เชียงใหม่ นครราชสีมา ฉะเชิงเทรา สงขลา ฟรี! ไม่มีค่าใช้จ่าย

Continue Reading

สัญญาณเมเซอร์แรกของกล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ

สดร.เผยทีมวิศวกรศูนย์ปฏิบัติการดาราศาสตร์วิทยุ และนักวิจัยสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ร่วมกันทดสอบระบบการทำงานกล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติในโหมดสังเกตการณ์สเปกตรัม และประสบความสำเร็จในการรับสัญญาณแรกของ “เมเซอร์” จากบริเวณก่อกำเนิดดาวฤกษ์มวลมาก Westerhout 49 North (W49N) ด้วยอุปกรณ์รับสัญญาณคลื่นความถี่วิทยุย่านแอล (L-band) เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2565 ที่ผ่านมา

Continue Reading