24 เมษายนนี้ “ดาวศุกร์สว่างที่สุด” ช่วงเช้ามืด
สดร.ชวนชม “ดาวศุกร์สว่างที่สุด” รุ่งเช้า 24 เมษายน 2568 ปรากฏสว่างเด่นทางทิศตะวันออก ก่อนดวงอาทิตย์ขึ้น หากฟ้าใส ไร้ฝน สังเกตได้ด้วยตาเปล่าทั่วประเทศ
Continue Readingสดร.ชวนชม “ดาวศุกร์สว่างที่สุด” รุ่งเช้า 24 เมษายน 2568 ปรากฏสว่างเด่นทางทิศตะวันออก ก่อนดวงอาทิตย์ขึ้น หากฟ้าใส ไร้ฝน สังเกตได้ด้วยตาเปล่าทั่วประเทศ
Continue Readingสดร.ชวนจับตา “พาเหรดดาวเคราะห์” หรือ “ดาวเคราะห์เรียงตัว” ช่วงเดือน ม.ค. – มี.ค. 68 ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ในระบบสุริยะจะปรากฏเรียงกันบนท้องฟ้าช่วงหัวค่ำ ได้แก่ ดาวเสาร์ ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวพฤหัสบดี และดาวอังคาร สังเกตได้ด้วยตาเปล่า รวมถึง ดาวเนปจูน ดาวยูเรนัส สังเกตเห็นได้หากมองผ่านกล้องโทรทรรศน์
Continue Readingสดร.โชว์ภาพ “ดาวอังคาร” ช่วงใกล้โลกที่สุด 12 ม.ค. 68 ที่ระยะห่างจากโลกประมาณ 96 ล้านกิโลเมตร มองเห็นพื้นผิวของดาวอังคาร รวมถึงเมฆที่ปกคลุมภูเขาไฟอีลิเซียม (Elysium Mons) และน้ำแข็งที่ปกคลุมบริเวณขั้วเหนือได้อย่างชัดเจน
Continue Readingสดร. เผย 12 มกราคม 2568 “ดาวอังคารใกล้โลกที่สุด” ปรากฏสว่างสีส้มแดงบนท้องฟ้า ตลอดคืนจนถึงรุ่งเช้า สังเกตได้ด้วยตาเปล่า หากชมผ่านกล้องโทรทรรศน์กำลังขยายตั้งแต่ 100 เท่าขึ้นไป จะเห็นพื้นน้ำแข็งสีขาวบริเวณขั้วของดาวอังคารได้
Continue ReadingNARIT ใช้dล้องโทรทรรศน์แห่งชาติบนดอยอินทนนท์ จ. เชียงใหม่ สังเกตการณ์ปรากฏการณ์ “ดาวยูเรนัสบังดาวฤกษ์” ร่วมกับ NASA และหอดูดาวขนาดใหญ่ทั่วโลก เก็บข้อมูลศึกษาวิจัยการเปลี่ยนแปลงของชั้นบรรยากาศ
Continue Readingสดร.จับมือ ไออาร์พีซี ร่วมกันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและวิศวกรรมขั้นสูงที่เกี่ยวข้อง พร้อมต่อยอดองค์ความรู้และนวัตกรรมสู่เชิงพาณิชย์
Continue Readingสดร.ชวนลุ้นชม “ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส” หรือ C/2023 A3 (Tsuchinshan-ATLAS) ต้นเดือนตุลาคมนี้ ช่วงที่เหมาะแก่การสังเกตการณ์ที่สุดคือช่วงดาวหางโคจรใกล้โลก วันที่ 13 ต.ค. 67 สังเกตได้ทางทิศตะวันตก หลังดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าเป็นต้นไป
Continue ReadingNARIT ชวนท่องอาณาจักรดวงจันทร์ พากลับไปสำรวจดวงจันทร์อีกครั้ง 16-25 สิงหาคมนี้ ในงานมหกรรมวิทย์ฯ 67 เมืองทองธานี
Continue Readingสดร.เผยเช้ามืด 25 กรกฎาคม 2567 เกิดปรากฏการณ์ “ดวงจันทร์บังดาวเสาร์”ครั้งแรกของปีหากฟ้าใส ไร้เมฆฝน สังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่าทั่วไทย
Continue Reading